loader image

Rattanakosin’s Era Apparel

During the early Rattanakosin era (2325-2411 B.E.), the attire closely resembled that of the late Ayutthaya fashion, reflecting the continuity of social customs, beliefs, and traditions. The choice of fabric served as a prominent marker of social status, while the empire’s evolution also brought about significant societal and cultural changes. As Rattanakosin transformed into a […]

nattapaty

July 21, 2023

King Rama V’s Era Apparel

During King Rama V’s reign, significant changes in clothing and hairstyles occurred. His first trip abroad in 1870 exposed him to the prosperity of neighboring countries, inspiring him to introduce reforms. This led to the decline of the traditional men’s interior hairstyle as it was replaced with shorter hair, according to royal preferences. The Rajapataen […]

nattapaty

July 21, 2023

Thai Chakkrapat’s Era Apparel

The “Thai Chakkraphat” Clothing is a well-known attire associated with royalty, deriving its name from the Chakkraphatpiman throne hall. Originally introduced by Queen Sirikit, it was intended to be the national dress for women participating in royal ceremonies. The shawl is worn in two layers, with the first layer being silk and the top adorned […]

nattapaty

July 21, 2023

Lanna’s Era Apparel

For noble women or those who came from an aristocratic family, they dressed elegantly with a long skirt made of full piece of cloth. The fabric possesses a very unique, diagonal pattern with a specific embroidery at its hem called ‘Sin Tor Tean Jok’. For the commoner, the fashion was less detailed. Commoner ladies would […]

nattapaty

July 21, 2023

Kid’s Apparel

Traditional children’s garments were heavily influenced by the values of adults, particularly their hairstyles. Braiding or making a hair-knot was believed to improve the health of children, while a special ceremony marked the cutting of the hair-knot at a certain age, symbolizing a prosperous future. Children’s clothing also reflected their family’s social status. Children’s accessories […]

nattapaty

July 21, 2023

สายสะพายผ้าแพรคืออะไร? ไว้ทำอะไร?

หลังจากที่รัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จไปต่างประเทศครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2413 ทรงทอดพระเนตรความเจริญของบ้านเมืองใกล้เคียงอย่างสิงคโปร์และชวา โปรดฯ ให้ผู้ตามเสด็จไว้ผมยาวตั้งแต่ก่อนออกเดินทาง จากนั้นพระองค์ทรงเปลี่ยนแบบพระเกศาด้วย ข้าราชการทั้งหลายก็เปลี่ยนตามพระราชนิยม ทำให้ทรงมหาดไทยเริ่มเสื่อมความนิยม ผู้หญิงก็เปลี่ยนแปลงทรงผม เปลี่ยนจากผมปีกแบบเก่ามาไว้ผมยาว ดังนั้นประเพณีไว้ผมปีกของสตรีไทยสมัยโบราณก็หายไป พร้อม ๆ กับผมทรงมหาดไทยของบุรุษก็หายตามไปด้วย นอกจากเรื่องทรงผมแล้ว ในด้านเสื้อผ้าอาภรณ์นั้น รัชกาลที่ 5 ทรงเห็นว่าเสื้อนอกแบบฝรั่งใส่แล้วร้อนอบอ้าวเพราะต้องมีเสื้อใน ผ้าผูกคอ จึงเริ่มเพิ่มเสื้อแขนยาวแล้วจึงห่มสไบทับ โดยโปรดฯ ให้ผู้หญิงในราชสำนักใส่เสื้อแขนยาว ชายเสื้อเพียงบั้นเอว และห่มแพร สไบเฉียงบ่านอกเสื้อ และให้สวมเกือกบู๊ตกับถุงเท้าตลอดน่อง และยังเกิด “เสื้อลายลูกไม้”และ “เสื้อแขนพองแบบหมูแฮม” โดยมีเจ้าจอมมารดาแพเป็นผู้นำสายสะพายผ้าแพรมาใช้ โดยในสมัยนั้น รัชกาลที่ 5 โปรดทรงม้าออกตรวจราชการตามท้องถิ่นต่าง ๆ ข้าราชสำนักฝ่ายในจึงต้องทรงม้าหรือขี่ม้าตามเสด็จฯด้วย เจ้าจอมมารดาแพจึงคิดประดิษฐ์แฟชันสตรีในการแต่งกายแบบขี่ม้า เพราะหากจะใช้สไบเฉียง เวลาขี่ม้าลมพัดแรงจัดสไบย่อมจะปลิวหลุดจากตัวได้ง่าย เจ้าจอมมารดาแพจึงใช้สายสะพายผ้าแพรแทน เครื่องแต่งกายสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในระยะแรกจึงเป็นการผสมผสานกันระหว่างแบบของยุโรปและของไทยดั้งเดิม และพัฒนาอย่างต่อเนื่องด้วยการเพิ่มความเป็นตัวเองลงไปในแบบเครื่องแต่งกายนั้น ๆ เช่น การประดิดประดอย ประดับตกแต่งอย่างละเอียดลออพิถีพิถันแบบไทย ๆ ผสมกับแบบต่างประเทศซึ่งมีเข้ามาเรื่อย ๆ ทำให้นำมาปรับให้เข้ากับของดั้งเดิมจนกลายเป็นความงดงามของประเพณีการแต่งกายของไทยสืบมา ที่มา: […]

nattapaty

May 26, 2023

เครื่องเขินล้านนา

คําว่า “เครื่องเขิน” หมายถึง ภาชนะ เครื่องมือ หรือ ของใช้ ที่ผลิตขึ้นโดยชาวเชียงใหม่ที่มีเชื้อสายสืบมาจากชาว ไทเขินแต่โบราณ คํานี้น่าจะบัญญัติขึ้นโดยคนไทยภาคกลาง หรือข้าราชการจากส่วนกลางที่ขึ้นมาอยู่ในภาคเหนือเมื่อ ประมาณ 100 ปีที่แล้ว เพราะว่าคำนี้มิได้ปรากฏอยู่ในภาษาพื้นถิ่นของชาวเชียงใหม่ ซึ่งชาวเชียงใหม่แต่เดิมไม่ได้มีศัพท์เรียกที่จํากัดความเฉพาะเช่นนี้มาก่อน ชาวเชียงใหม่เรียกชื่อภาชนะ ของใช้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานช่างฝีมือประเภทใด ตามลักษณะ การใช้งานมากกว่าการระบุถึงวัสดหรือเทคนิคการผลิต แม้บางครั้งอาจกล่าวถึงบ้างถ้าวัสดุนั้นเป็นของมีค่า เช่น ขันเงิน (พานทรงสูงตีจากเนื้อเงินบริสุทธิ์) หรือ แอ็บหมากคํา (ตลับใส่หมากตกแต่งด้วยโลหะทองคํา) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าภาชนะ ของใช้ในอดีตเป็นจํานวนมาก ผลิตด้วยเทคนิคและวัสดุพื้นถิ่น ซึ่งถือว่าเป็นของธรรมดาๆ ไม่มีอะไรพิเศษ หรือมีราคาค่างวด มากมาย จึงไม่มีการใช้ศัพท์จําเพาะให้ชัดเจน โดยหลักการ เครื่องเขินของชาวล้านนาส่วนใหญ่ มีโครงภายในเป็นเครื่องไม้ไผ่สาน ทาด้วยยางรักหลายๆ ชั้น สําหรับยางรักชั้นแรกๆ จะทำหน้าที่ยึดโครงสร้างไม้ไผ่ให้เกิดความมั่นคง ชั้นต่อๆ ไปเป็นการตกแต่งผิวภาชนะให้เรียบ ชั้นหลังๆ และชั้นสุดท้ายเป็นการตกแต่งใหสวยงาม เช่น ทําผิวให้เรียบเนียน การเขียนลวดลายดวยพู่กัน ขลิบด้วยการปิดทองคาเปลว หรือการขูดผิวเป็นรองลึก แล้วฝังยางรัก ผสมสีที่ต่างกันเพื่อสร้างลวดลายให้สวยงาม ละเอียดและประณีต […]

nattapaty

March 30, 2023

“สีอินจี” ไม่ใช่ “ลิ้นจี่” แล้วอินจีคืออะไร? มาจากไหน?

รู้หรือไม่!? สีลิ้นจี่ที่เราได้ยินกัน ไม่ได้มาจากผลไม้ลิ้นจี่นะ เคยสงสัยกันไหมว่า สีโบราณแต่ละสีมีที่มาอย่างไร วันนี้เราจะพาผู้อ่านไปรู้จักกับสีที่เราคุ้นหูและปรากฎในชีวิตประจำวันของเราตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่ไม่รู้ว่าที่มามันมาจากไหน ไปอ่านกันเลย -สีลิ้นจี่ หรือสีลิ้นจี่เป็นสีแดงธรรมชาติที่ใช้ทาปากในสมัยโบราณและงิ้วใช้แต่งหน้าให้เป็นสีแดง สูตรทางเคมีเป็นกรดคาร์มินิกที่เกิดสารเชิงซ้อนกับอะลูมิเนียม ได้จาก “แมลงอินจี” เพศเมียที่มีตัวอ่อนอยู่ในท้อง นำแมลงตัวเมียมาอบให้แห้ง จะได้เม็ดเล็ก ๆ สีเงิน เมื่อนำมาบดจะได้สีแดง เรียกชาดลิ้นจี่ –สีโศก ต้นโสก หรือ ต้นโศก มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในประเทศอินเดีย จัดเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ที่มีความสูงของต้นได้ประมาณ 5-15 เมตร และอาจสูงได้ถึง 20 เมตร มีดอกขึ้นเป็นพุ่มสีแสดออกแดง ส่วนสีโศกได้มาจากการเลียนสีของใบโศกแยกเป็นโศกใบอ่อนสีเขียวอ่อนซีดๆจืดๆก็ได้ หรือไล่สีเป็นสีเขียวอ่อนที่เข้มขึ้นมาอีกนิดแบบโศกใบแก่ขึ้นมาหน่อยก็ได้เช่นกัน  -สีแสด(ดอกคำแสด) ได้มาจากการนำผลที่แก่จัด แช่น้ำร้อนหมักทิ้งไว้หลาย ๆ วัน จนสารสีตกตะกอน จากนั้นนำไปคี่ยวและตากแดดจนแห้ง บดละเอียดทำเป็นผงใช้ผสมน้ำต้มย้อมผ้าจะได้สีส้มสว่าง ผ้าที่ย้อมจากสีดอกคำแสดมีทนต่อเหงื่อ การซัก แต่หากถูกแสงแดดบ่อยครั้งจะทำให้สีซีดลง -สีคราม คนสมัยโบราณนิยมนำกิ่งครามทั้งใบมาแช่น้ำด่าง เพื่อหมักเอาน้ำครามมาย้อมผ้าหลังจากที่น้ำหมักครามทำปฎิกิริยากับออกซิเจน สีที่ได้คือสีน้ำเงินเข้ม เรียกว่า สีคราม นั่นเอง แต่ต้องย้อมซ้ำหลายครั้ง ครั้งแรก ๆ จะได้เป็นสีครามเข้ม -สีเขียวใบแค เป็นสีไทยที่อยู่ในหมวดสีเขียว เป็นสีที่ปรุงมาจากใบต้นแค โดยเลือกใบที่แก่จัดๆนำมาบดหรือตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำมาหมักหรือต้มย้อมผ้าแล้วตากให้แห้ง แล้วนำมาบดให้ละเอียดอีกรอบ […]

nattapaty

September 30, 2022

เครื่องแก้วสีเขียวโบราณ

ตอนเด็ก ๆ เคยเห็นแก้วสีเขียวสด ๆ ที่คุณทวด คุณย่า คุณยาย ใช้กันเป็นผอบ หรือตลับแป้งกันไหม แล้วทราบหรือไม่ว่ามันเป็นแก้วเรืองแสง ถามต่อว่าทำไมเรืองแสง ก็เพราะมันเป็น แก้วที่ทำจากแร่ยูเรเนียม Uranium Glass /Vaseline Glass เครื่องแก้วสีเขียวโบราณ วงการนักสะสมของเก่าของโบราณ คงคุ้นตากับเครื่องแก้วสีสันสะดุดตา จะเขียวก็ไม่เชิงจะเหลืองก็ไม่ใช่ สีก้ำกึ่งระหว่างเหลือบ ๆ เขียวอมเหลือง เหมือนสีของใบตอง จึงมันถูกเทียบกันไว้ให้เข้าใจกันได้ว่า เครื่องแก้วเหล่านี้ได้รับความนิยมมากในช่วงรัชกาลที่๕ หลัก ๆ เป็นข้าวของเครื่องใช้บนโต๊ะเครื่องแป้งของเหล่าคุณยาย หรือคันช่องส่องหน้า เป็นขวดน้ำอบ กระปุกแป้งเม็ด โถ่ใส่น้ำมันตานี หรือเป็นข้าวของเครื่องใช้เป็นพวกภาชนะใส่อาหาร เป็นชามหรือจานรวมไปถึงขวดใส่น้ำดื่มก็มีพบเจอเช่นกัน สีของเครื่องแก้วเหล่านี้ เป็นสีที่เกิดจากขั้นตอนการหล่อผลิตขึ้นรูปขึ้นมา มีการใส่แร่ยูเรเนียนลงไปในขั้นตอนการผลิต สีที่ออกมาในเนื้อแก้วจึงเป็นสีออกเหลือบ ๆ ระหว่างสีเหลืองแกมเขียว สีงามแปลกตา สะท้อนเล่นแสงไฟไปตามการกระทบของแสง บางช่วงเป็นสีเขียวแสงบางช่วงสะท้อนให้เห็นสีเหลืองเหลือบสะท้อนออกมา สะกดให้นักสะสมและนิยมเล่นงานแก้วโบราณ ต่างเสาะหามาสะสม ปัจจุบันจัดเป็นของเล่นของนักสะสมของเก่า ราคาแรงตามสภาพ ถ้าสภาพสวยสมบูรณ์ ยิ่งมีราคาแรงมากขึ้นไป ปัจจุบันยังไม่พบการทำลอกเลียนแบบขึ้นมา ด้วยการทำสีให้ได้แบบงานโบราณ คงไม่ใช่เรื่องง่าย การใส่แร่ยูเรเนียมลงไปถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของงานเครื่องแก้วสี […]

nattapaty

August 23, 2022

Picture Frames

Whether it’s a picture from your Thai experience or wedding, a piece for your next memories, or one of life’s cherished moments, we’re here to make it last a lifetime. Frame pattern Determined to delivery the truly Thai authentic experience through inner spirit of service, created special moment last forever as a Thailand’s memory “มุ่งมั่นส่งมอบประสบการณ์ความเป็นไทยที่แท้จริง […]

nattapaty

November 11, 2021
1 2 3 4 7