loader image

Hand Block Printing

The art of “Hand block printing” is an esteemed fabric design methodology with its origins deeply rooted in India.             For numerous generations, adept Indian craftsmen have diligently crafted detailed block prints that captivate and shape design aesthetics globally. This enduring tradition, transmitted across generations, places paramount importance on quality and authenticity. Each block-printed fabric […]

nattapaty

March 25, 2024

บล็อกไม้พิมพ์มือ – ประวัติศาสตร์ กระบวนการ ศิลปะ การออกแบบ

“งานบล็อกไม้พิมพ์มือ” เป็นหนึ่งในเทคนิคการสร้างลวดลายผ้าที่ขึ้นชื่อในประเทศอินเดีย เป็นเวลาหลายพันปีที่ช่างฝีมือชาวอินเดียสร้างสรรค์ภาพพิมพ์บล็อกเพื่อการตกแต่งที่น่าหลงใหลและสร้างแรงบันดาลใจไปทั่วโลก ศิลปะของการพิมพ์แบบบล็อกได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น และเพื่อให้ได้คุณภาพ ผ้าพิมพ์ลายบล็อคล้วนเป็นผลิตภัณฑ์ทำมือทั้งหมด และกระบวนการพิมพ์มีความยาวและซับซ้อน แต่ละชิ้นมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ความไม่สมบูรณ์ของบล็อคพิมพ์ลายคือเสน่ห์ถึงความเป็นเลิศทางงานฝีมือ การพิมพ์แบบบล็อกเป็นรูปแบบศิลปะโบราณและดั้งเดิมในการพิมพ์บนผ้า กระดาษ และวัสดุอื่นๆ ที่มีต้นกำเนิดในอินเดียเมื่อหลายปีก่อนโดยใช้สีย้อมผักและสีธรรมชาติ ชัยปุระ เมืองสีชมพูของอินเดีย เมืองหลวงของรัฐราชสถาน เป็นหนึ่งในเมืองที่มีการวางผังเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดียยุคใหม่ นอกจากความสวยงามและวัฒนธรรมดั้งเดิมแล้ว ยังมีชื่อเสียงในด้านศิลปะการพิมพ์แบบบล็อกอีกด้วย ศิลปะการพิมพ์แบบบล็อกแบบดั้งเดิมได้รับการฝึกฝนในรัฐราชสถาน ประเทศอินเดียมานานกว่า 500 ปี การพิมพ์แบบบล็อกเริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 12 และรูปแบบการพิมพ์ทางศิลปะที่หลากหลายบนผ้าเป็นที่โปรดปรานของกษัตริย์และราชินี ซึ่งทำให้ศิลปะการพิมพ์แบบบล็อกเป็นที่รู้จักในฐานะผู้อุปถัมภ์ของราชวงศ์ตั้งแต่สมัยนั้น การพิมพ์บล็อคไม้เป็นกระบวนการพิมพ์ลวดลายบนสิ่งทอ เป็นกระบวนการที่ง่ายที่สุดแต่เป็นกระบวนการพิมพ์สิ่งทอที่ช้าที่สุด ความเกี่ยวข้องกับประเทศไทย พ่อค้ามุสลิมหรือแขกมัวร์นำผ้าอินเดียจากเมืองท่าสุรัต (Surat) ในรัฐคุชราต (Gujarat) เข้ามาขายในดินแดนสยามตั้งแต่สมัยอยุธยา ธุรกิจของชาวอินเดียรุ่งเรืองมากจนมีเรือขนส่งสินค้าจากเมืองท่าสุรัตสู่ย่านตึกขาว ตึกแดง สินค้านำเข้าที่ชาวสยามนิยมคือผ้าไหม ดิ้นเงินดิ้นทอง แพรแถบ ของใช้โลหะต่างๆ เครื่องเทศ “ผ้าอินเดีย” เป็นหนึ่งในสินค้าจากอินเดียที่ซื้อขายกันอย่างแพร่หลาย ประเทศไทยอยู่ในโลกของการค้ากับอินเดีย ตั้งแต่สมัยโบราณ ในสมัยที่อยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีการติดต่อค้าขายกับผู้คนมากมายเข้ามาในสยามประเทศ เปอร์เชีย และอินเดีย ก็เป็นกลุ่มหนึ่งที่เข้ามาทำการค้าขาย โดยเฉพาะกลุ่มพ่อค้าชาวมุสลิม ซึ่งมีบทบาทในการค้าผ้ามากพอสมควรในสมัยอยุธยา โดยพ่อค้ามุสลิมนำผ้าอินเดียจากเมืองท่าสุรัต (Surat) ในรัฐคุชราต […]

nattapaty

March 25, 2024

ในวันที่เครื่องมือทันสมัยยังไม่มี สมัยก่อนเขาอัดจีบสไบกันอย่างไร?

สไบ ถือเป็นเครื่องแต่งกายหลักของสตรีไทยในสมัยโบราณ การแสดงฐานะของคนไทยในสมัยก่อนจะดูจากรอยจีบของผ้า เนื่องจากในสมัยโบราณไม่ใช้ความร้อนในการทำให้เรียบ มีเพียงอุปกรณ์ตัวใหญ่อย่าง “รางจีบ” และ “เครื่องอัดผ้า” ทำจากไม้สัก ที่ต้องประคองจับจีบผ้าและทับทิ้งไว้เป็นเวลานานจึงจะใส่ได้ ผ้าสไบ โดยมากเป็นผ้าที่เบาบาง ทำด้วยแพรไหม ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยสกปรก จึงไม่จำเป็นที่จะต้องซักหรือทำความสะอาดบ่อยนัก แต่ด้วยวิสัย “ชาววัง” จะต้องทำความสะอาดและอบร่ำให้มีกลิ่นหอมอยู่เสมอ การซักผ้าชนิดนี้จึงไม่จำเป็นต้องต้ม เพียงแต่ซักน้ำให้สะอาดตากให้แห้งแล้วจึงนำมาจีบ วิธีจีบก็มีต่าง ๆ กัน บางคนใช้จีบด้วยมือ ช่วยกัน 2 คน จีบคนละข้าง วิธีนี้ผู้ทำจะต้องมีความชำนาญสูง เมื่อจีบแล้วจึงนำของหนัก ๆ มาทับไว้ให้เรียบและอยู่ตัว หรือบางคนใช้วิธีมัดหัวท้ายและกลางเพื่อให้จีบอยู่ตัว มีบางคนที่มีความสามารถจีบคนเดียวโดยใช้หัวแม่เท้ากับนิ้วถัดไปคีบไว้ แล้วจับจีบทีละข้าง วิธีเช่นนี้มักถูกตำหนิว่าเป็นวิธีของไพร่ ชาววังจึงไม่นิยมทำกัน อีกวิธีหนึ่งเป็นวิธีของผู้มีฐานะอย่างชาววังหรือสตรีในราชสำนัก คือใช้ เครื่องอัดกลีบผ้า ลักษณะเป็นไม้ 2 แผ่นตั้งขนานกันบนไม้อีกแผ่นหนึ่ง ทำให้เกิดร่องระหว่างไม้ทั้ง 2 แผ่น เวลาใช้จีบผ้าสไบใส่ลงไประหว่างร่องทีละชิ้น จากนั้นใช้ไม้อีกชิ้นหนึ่งที่มีความกว้างเท่ากับร่องไม้เรียกว่า “ลิ้นอัด”ทับลงไป แล้วใช้เชือกมัดปลายผ้าที่โผล่ออกมาทั้ง 2 ด้าน หรือใช้ไม้ใหญ่ทับหัวทับท้าย เมื่อเวลาแก้เชือกและดึงไม้ลิ้นออกจะได้ผ้าสไบที่มีกลีบงดงามและคงทน ส่วนวิธีที่ทำให้ผ้าเรียบอย่างสวยงามคือ การนำมาเข้าของเครื่องหนีบ ลักษณะเป็นลูกเหล็กท่อนโตกลมหรือเหลี่ยมยาววางซ้อนกัน 2 ลูกบนขาตั้งสูง มีลูกบิดเป็นมือถือจับหมุน […]

nattapaty

November 29, 2023

Uranium Glass

In traditional Thai households, green glassware, known for its unique ability to glow, was a common sight. These glass items are crafted from uranium minerals and are often referred to as “Uranium Glass” or “Vaseline Glass.” Uranium glass, (a.k.a; Vaseline glass), contains uranium oxide, imparting a distinct yellow or greenish luminescence when exposed to UV […]

nattapaty

October 31, 2023

Chibori or Nham Kanun

“Chibori or Nham Kanun” (Jackfruit thorn-like fabrics) is a tie-dyed textile originating from Japan and India. It features a pattern resembling the thorns of a jackfruit and was traditionally worn as a sash around the waist by lords or nobles. To create this fabric, a piece of thin satin, silk, or similar material is tied […]

nattapaty

October 31, 2023

Khrueng Khern (Yun-de)

“Khrueng Khern” or “Khrueng Khin” is a prevalent form of handicraft in Southeast Asia. Throughout history, it held a versatile status, serving as household essentials, ritual implements, and artistic masterpieces. Khrueng Khern predominantly features a wooden framework, but bamboo is also a common choice, imparting a lightweight quality to the items. The fundamental technique behind […]

nattapaty

October 31, 2023

Tho Prik

In the past, “Tho Prik” served as containers for beauty cosmetics like turmeric, powder, and beeswax, typically used as a set. These sets could consist of either an even or odd number of pieces, with the most common being sets of 2 to 6 items. The term “Tho Prik” is derived from the practice of […]

nattapaty

October 31, 2023

Benjarong

The art of creating Benjarong is a longstanding Thai handicraft with roots tracing back to ancient times. Historical records indicate that Thai Benjarong wares were initially commissioned and produced in China, while the vibrant and intricate patterns were distinctly Thai. This is a testament to the exceptional craftsmanship and artistic skills of Thai artisans. The […]

nattapaty

October 31, 2023
1 2 3 7